Considerations To Know About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

นิพนธ์ พัวพงศกร รำลึกถึง ม.ร.ว.อคิน รพีพัฒน์ นักสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาคนสำคัญของไทย ผ่านบทเรียนภาคสนามจากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลงานวิจัย

ที่ถึงแม้จะตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ด้วยความตั้งใจมากแค่ไหนก็ไม่พ้นคำครหาเรื่องความรู้และวุฒิการศึกษาที่หลายคนในสังคมมองว่ายังไม่เพียงพอที่จะทำหน้าที่ครู เด็กจะมีคุณภาพการศึกษาที่ดีได้อย่างไรถ้าได้เรียนกับคนที่ไม่ได้เรียนมาโดยตรง หรือไม่ก็ได้สอนไม่ตรงตามสาขาวิชา “มาสอนเด็ก เด็กจะได้อะไร เด็กจะมีคุณภาพการศึกษาได้อย่างไร” นี่ไม่ใช่คำถาม แต่เป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไข หนึ่งในปัญหาสำคัญที่ตัวครูนกและครู ตชด. ท่านอื่นเองก็ตระหนักในเรื่องนี้ดี 

“ลำพังการคิดถึงภาพว่าโรงเรียนต้องมีใครบ้าง เราก็ยังฉายภาพไม่ตรงกัน เรายังเข้าใจว่าถ้ามีโรงเรียน มีเพียงผู้อำนวยการกับครูก็ได้ ทั้งที่จำเป็นต้องมีคนอื่นๆ เพิ่มเข้ามาด้วย ทั้งนักการภารโรง ธุรการ พนักงาน ถ้าไปดูโรงเรียนในเมืองจะพบว่าปริมาณคนกลุ่มแบ็กอัปเหล่านี้เยอะมาก รัฐยังมองไม่เห็นถึงความจำเป็นตรงนี้”

Analytical cookies are used to know how website visitors connect with the website. These cookies help offer information on metrics the quantity of website visitors, bounce amount, visitors source, and so on. Ad Advertisement

ปัญหาความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นปัญหารากฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของสังคมไทย โดยเฉพาะเรื่อง “การศึกษา” ที่เป็นปัญหาเรื้อรังมาอย่างยาวนาน เราต่างรู้กันดีว่า “การศึกษา” คือโอกาสที่สามารถช่วยให้คนยกระดับคุณภาพชีวิตในระยะยาวได้ แต่ในทางกลับกันในประเทศไทยก็ยังมีคนที่เข้าไม่ถึงการศึกษา โดยเฉพาะเด็กๆ ในพื้นที่ห่างไกล เพราะติดกับดักความยากจนเข้ามาซ้ำเติมแม้จะมีนโยบายเรียนฟรี แต่เด็กจำนวนไม่น้อยก็ยังขาดแคลนทุนทรัพย์สำหรับค่าเล่าเรียนและค่าเดินทาง

เกี่ยวกับเรา รู้จักทีดีอาร์ไอ เกี่ยวกับเรา

เมื่อเปรียบเทียบกับภาคกลางหรือกรุงเทพฯ แสดงให้เห็นถึงความเหลื่อมลํ้าทางเศรษฐกิจของประชากรในประเทศที่รุนแรง

เราจะพบว่าโรงเรียนไม่ได้เป็นเพียงแค่สถาบันเพื่อการเรียนรู้เพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นพื้นที่หนึ่ง ที่ทำให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายสมวัย ยกตัวอย่างในกรณีเด็กยากจน เด็กที่มีพ่อแม่เป็นกรรมกรเคลื่อนย้าย ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา หรือเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ การจัดบริการอาหารเช้าและอาหารกลางวันในโรงเรียน หรือบริการอื่น ๆ ในโรงเรียน เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยผ่อนคลายภาระของครอบครัวเป็นอย่างมาก

เรียนรู้วิชาชีพจากองค์ความรู้ภายในชุมชน

เพราะฉะนั้น ความเหลื่อมล้ำในแต่ละบริบทนั้นมีความแตกต่างกัน ไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าเกิดจากมิติใดมิติหนึ่งเพียงอย่างเดียว ความเหลื่อมล้ำนั้นสามารถเกิดได้จากทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ หรือความเหลื่อมล้ำที่เกิดจากมิติวัฒนธรรม หรืออคติเชิงชาติพันธุ์ต่าง ๆ เป็นต้น

มาเป็นครู ตชด. ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านตะแบกงาม จังหวัดชุม เป็นโรงเรียนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งคนท้องถิ่น คนที่เดินทางมาจากต่างถิ่น แรงงานข้ามชาติที่เดินทางมาทำงานเลี้ยงชีพ 

ปัจจุบันโลกมีความเป็นโลกาภิวัตน์ หรือการติดต่อสื่อสารสามารถทำได้อย่างง่ายดาย รวดเร็ว และขยายขอบเขตของการติดต่ออย่างกว้างขวาง ทำให้สถาบันทางการศึกษาตระหนักถึงการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับการอ้างอิงหลักสูตรจากสถาบันทางการศึกษาในต่างประเทศ เพื่อให้นักเรียนสามารถขยายพื้นที่ในการหาองค์ความรู้ได้กว้างขวางมากขึ้น และช่วยลดปัญหาด้านการศึกษา อีกทั้งยังทำให้นักเรียนสามารถใช้ชีวิตอยู่ในโลกของความเป็นสากลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

The cookie is up to date whenever info is sent to Google Analytics. Any activity by a person throughout the 30 moment lifetime span will depend as an individual pay a visit to, even when the user leaves after which you can returns to the internet site. A return soon after half-hour will count as a completely new check out, but a returning visitor.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *